
Thailand 4.0 กับการเกษตรสมัยใหม่: ปฏิวัติภาคเกษตรด้วยนวัตกรรม
Thailand 4.0 คืออะไร? Thailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ ที่มุ่งเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจจาก แบบดั้งเดิม (1.0) →
Thailand 4.0 คืออะไร? Thailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ ที่มุ่งเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจจาก แบบดั้งเดิม (1.0) →
BCG Economy คือ Bio Economy, Circular Economy และ Green Economy ซึ่งเป็น 3 แนวคิดที่ผสมผสานกันเพื่อสร้างระบบเศรษฐกิจที่ “ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ลดของเสีย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”
ในยุคที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การดำเนินธุรกิจแบบเดิมที่มุ่งเน้นเพียงผลกำไรไม่เพียงพออีกต่อไป โมเดลเศรษฐกิจ BCG จึงเป็นแนวคิดที่ได้รับความสนใจอย่างมากในประเทศไทย โดยเฉพาะในกลุ่มธุรกิจ SME
การเปลี่ยนแปลงนโยบายการสนับสนุนพลังงานสะอาดของสหรัฐอเมริกา ภายใต้นโยบายของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ รวมถึงการถอนตัวจากข้อตกลงปารีส ส่งผลกระทบต่อการลงทุนและการดำเนินนโยบายด้านพลังงานสะอาดของสหรัฐอเมริกา รวมถึงเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของโลก
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของไต้หวัน ผ่านโครงการ Long-term care มีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงระบบดูแลผู้สูงอายุ และผู้ที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3 ปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ธุรกิจ CPG สามารถสร้างทั้งผลกำไรควบคู่ไปกับความยั่งยืน ได้แก่ การใช้พลังงานไฟฟ้า (Electrification) การทรานส์ฟอร์มด้วยดิจิทัล (Digital Transformation) และเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circularity)
Plant-Based Food ในตลาดโลกขยายตัวเพิ่มขึ้น 12% บพข. จึงได้จัดงานเสวนา Expert Forum : “Plant-Based Protein ยกระดับงานวิจัยและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์โปรตีนพืชสู่ อุตสาหกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ” ขึ้น
วิสาหกิจชุมชนเพียวพลัสฟาร์ม จังหวัดนครสวรรค์ เป็นวิสาหกิจชุมชนต้นแบบ โดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ผลิตอาหารเลี้ยงโคเนื้อจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เปลือกทุเรียน ฟางข้าว และเศษอ้อย
อุตสาหกรรมหลอมอะลูมิเนียม คือ อุตสาหกรรมที่นำอะลูมิเนียมมาหลอมก่อนหล่อหรือรีดเพื่อขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ โดยประเทศไทยมีค่าเฉลี่ยการหลอมมากกว่า 5 แสนตันต่อปี ทั้งเพื่อการใช้ประโยชน์ภายในประเทศและส่งออก
อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า กรมวิชาการเกษตรได้ดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้การผลิตพืชตามแนวพระราชดำริทฤษฎีใหม่ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งเริ่มดำเนินงานมาตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2552
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)