โอกาสและความท้าทายของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ภายใต้นโยบายเศรษฐกิจ BCG
โอกาสและความท้าทายของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ภายใต้นโยบายเศษฐกิจ BCG
ดร. ชานนท์ วินิจชีวิต จากระบบ smartgreeny.com
โอกาสและความท้าทายของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ภายใต้นโยบายเศษฐกิจ BCG
ดร. ชานนท์ วินิจชีวิต จากระบบ smartgreeny.com
หนึ่งในผลไม้จากประเทศไทยที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างชาติสูงจนขึ้นแท่นเป็นพืชเศรษฐกิจ คือ ‘มะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง’ ที่มีจุดเด่น คือ ผลใหญ่ เปลือกสีเหลืองทอง เนื้อละเอียด รสชาติหวาน แต่ด้วยมะม่วงสายพันธุ์นี้มีเปลือกสีเหลืองครีมตั้งแต่เริ่มสุกบนต้นหรือระยะที่ยังไม่พร้อมรับประทาน ทำให้แยกระดับความสุกจากการสังเกตสีเปลือกมะม่วงได้ยาก
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ จัดโครงการ สทบ. สัญจร 13 สาขา แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกองทุนหมู่บ้าน สถาบันการเงินชุมชน โครงการประชารัฐ
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกยางพารามากเป็นอันดับหนึ่งของโลก แต่เม็ดเงินที่ไหลกลับเข้าประเทศกลับไม่มากนัก สาเหตุสำคัญมาจากสินค้าส่งออกส่วนใหญ่ยังคงเป็นวัตถุดิบในขั้นปฐมภูมิ อาทิ น้ำยางข้น ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ชูโครงการลดการปล่อยน้ำทิ้งสู่สาธารณะเป็นศูนย์ (Zero Wastewater Discharge) ของบริษัทไทยยูเนี่ยน เป็นศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาต้นแบบระบบบำบัดน้ำทิ้งเป็นศูนย์
ต้องยอมรับว่าการพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก เป็นการดำเนินการที่สำคัญในการพัฒนาและยกระดับประเทศไทยให้หลุดพนจากกับกักรายได้ปานกลาง มีการกระจายรายได้อย่างทั่วถึง เป็นการวางรากฐานที่มั่นคงให้กับเศรษฐกิจไทยในอนาคต โดยการส่งเสริมเศรษฐกิจระดับชุมชนท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในการแข่งขัน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ซึ่งที่สุดแล้ว ย่อมช่วยยกระดับมาตรฐานการครองชีพและความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชนให้ดีขึ้นนำไปสู่การแก้ปัญหาความยากจน
‘ทุ่งกุลาร้องไห้’ คือทุ่งราบกว้างใหญ่ที่เคยถูกขนานนามถึงความแห้งแล้งและทุรกันดาร ยากแก่การประกอบอาชีพหรือทำการเกษตร แต่ทุกวันนี้ชาวทุ่งกุลาฯ ไม่เพียงไม่ร้องไห้ แต่กำลัง ‘ยิ้มได้’ เพราะนอกจากผืนดินที่เคยแตกระแหงจะกลายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดีระดับโลกแล้ว กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
จากการสำรวจของ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (มนร.) ในปี 2564 พบว่ามี ปัญหาความยากจน เกิดขึ้นที่ อำเภอเมือง จ.นราธิวาส
มาถึงอีกหนึ่ง Key Success Person ของโครงการนี้ รศ.ดร.รัตนาวรรณ มั่งคั่ง ผู้อำนวยการ วีกรีน คณะสิ่งแวดล้อม
เมื่อกล่าวถึง Circular Economy หรือ เศรษฐกิจหมุนเวียน เชื่อว่าทุกคนรับรู้ตรงกันแล้วว่า แนวคิดนี้ได้รับการนำเสนอเพื่อนำมาปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว เป็นทางเลือกใหม่ในการพัฒนาเศรษฐกิจสู่ความยั่งยืนในอนาคต ด้วยการสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตใช้วัตถุดิบหรือทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่าที่สุด ด้วยการวางแผนให้สิ่งที่ผลิตขึ้นมานั้นสามารถคืนสู่สภาพเดิมหรือพร้อมนำกลับมาใช้ใหม่ได้
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)