นาโนเทค สวทช. พัฒนาสารสกัดบัวบกประสิทธิภาพสูง เพิ่มมูลค่าสมุนไพรไทย ผลักดันเวชสำอางไทยสู่สากล
‘สารสกัดจากบัวบก’ เป็นสารที่ได้รับความนิยมสูงในการใช้เป็นสารออกฤทธิ์ (active ingredient) ในผลิตภัณฑ์เวชสำอาง เพราะมีสารสำคัญเด่น 2 ชนิด คือ
‘สารสกัดจากบัวบก’ เป็นสารที่ได้รับความนิยมสูงในการใช้เป็นสารออกฤทธิ์ (active ingredient) ในผลิตภัณฑ์เวชสำอาง เพราะมีสารสำคัญเด่น 2 ชนิด คือ
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกยางพารามากเป็นอันดับหนึ่งของโลก แต่เม็ดเงินที่ไหลกลับเข้าประเทศกลับไม่มากนัก สาเหตุสำคัญมาจากสินค้าส่งออกส่วนใหญ่ยังคงเป็นวัตถุดิบในขั้นปฐมภูมิ อาทิ น้ำยางข้น ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ชูโครงการลดการปล่อยน้ำทิ้งสู่สาธารณะเป็นศูนย์ (Zero Wastewater Discharge) ของบริษัทไทยยูเนี่ยน เป็นศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาต้นแบบระบบบำบัดน้ำทิ้งเป็นศูนย์
ต้องยอมรับว่าการพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก เป็นการดำเนินการที่สำคัญในการพัฒนาและยกระดับประเทศไทยให้หลุดพนจากกับกักรายได้ปานกลาง มีการกระจายรายได้อย่างทั่วถึง เป็นการวางรากฐานที่มั่นคงให้กับเศรษฐกิจไทยในอนาคต โดยการส่งเสริมเศรษฐกิจระดับชุมชนท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในการแข่งขัน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ซึ่งที่สุดแล้ว ย่อมช่วยยกระดับมาตรฐานการครองชีพและความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชนให้ดีขึ้นนำไปสู่การแก้ปัญหาความยากจน
‘ทุ่งกุลาร้องไห้’ คือทุ่งราบกว้างใหญ่ที่เคยถูกขนานนามถึงความแห้งแล้งและทุรกันดาร ยากแก่การประกอบอาชีพหรือทำการเกษตร แต่ทุกวันนี้ชาวทุ่งกุลาฯ ไม่เพียงไม่ร้องไห้ แต่กำลัง ‘ยิ้มได้’ เพราะนอกจากผืนดินที่เคยแตกระแหงจะกลายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดีระดับโลกแล้ว กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
จากการสำรวจของ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (มนร.) ในปี 2564 พบว่ามี ปัญหาความยากจน เกิดขึ้นที่ อำเภอเมือง จ.นราธิวาส
มาถึงอีกหนึ่ง Key Success Person ของโครงการนี้ รศ.ดร.รัตนาวรรณ มั่งคั่ง ผู้อำนวยการ วีกรีน คณะสิ่งแวดล้อม
เมื่อกล่าวถึง Circular Economy หรือ เศรษฐกิจหมุนเวียน เชื่อว่าทุกคนรับรู้ตรงกันแล้วว่า แนวคิดนี้ได้รับการนำเสนอเพื่อนำมาปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว เป็นทางเลือกใหม่ในการพัฒนาเศรษฐกิจสู่ความยั่งยืนในอนาคต ด้วยการสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตใช้วัตถุดิบหรือทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่าที่สุด ด้วยการวางแผนให้สิ่งที่ผลิตขึ้นมานั้นสามารถคืนสู่สภาพเดิมหรือพร้อมนำกลับมาใช้ใหม่ได้
‘CBAM’ ย่อมาจาก ‘Carbon Border Adjustment Mechanism’ หรือ ‘มาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน‘ เป็นมาตรการที่สหภาพยุโรป (EU) กำหนดขึ้นเพื่อมุ่งสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแก่ประเทศคู่ค้านอกสหภาพยุโรป ‘ผ่านการใช้มาตรการด้านคาร์บอน‘ โดยจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้นำเข้าสินค้าประเภทที่มีการปล่อยคาร์บอนในกระบวนการผลิตสูง (carbon intensive products)
ช่วงความเคลื่อนไหวของสังคมไทยในรอยต่อทศวรรษ พ.ศ. 2550 ถึง 2560 เป็นช่วงการปรับตัวสำคัญของสังคมไทยอีกครั้ง ที่พยายามเคลื่อนออกจากสภาวะอับจนในการพัฒนาประเทศ! หลังเผชิญวิกฤตทางการเมืองมานับกว่าทศวรรษ ก่อผลรวมเป็นความชะงักงันทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ!
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)