ทุเรียนเริ่มทยอยเข้าสู่ตลาดมลายูฯ ด้าน จังหวัดยะลา วาง 6 มาตรการเข้ม ควบคุม ป้องกัน ทุเรียนอ่อน
เริ่มแล้วตลาดรับซื้อผลไม้แยกมลายูบางกอก หลังทุเรียนยะลา ทยอยออกสู่ตลาด ขณะ ผลผลิตโดยรวมกระทบภัยแล้งลด กว่า 18 เปอร์เซ็นต์ ด้านจังหวัดยะลา วาง
เริ่มแล้วตลาดรับซื้อผลไม้แยกมลายูบางกอก หลังทุเรียนยะลา ทยอยออกสู่ตลาด ขณะ ผลผลิตโดยรวมกระทบภัยแล้งลด กว่า 18 เปอร์เซ็นต์ ด้านจังหวัดยะลา วาง
BCG Road Trip เป็นการนำเอาองค์ความรู้และเทคโนโลยีตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ, เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว มาประยุกต์ใช้กับการท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ แปรรูปผลิตผลอย่างเป็นระบบ มีการหมุนเวียนการใช้ทรัพยากร ลดการใช้พลังงานและปริมาณขยะ ไม่สร้างมลพิษหรือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อันจะนำไปสู่ความยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมโลก
ตอนนี้สภาวะโลกร้อนเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวมาก เราสามารถรู้สึกได้ว่า โลกเปลี่ยนไปจริงๆ จาก global warming สู่ global boring เรียบร้อยแล้วการ ที่เราเริ่มทำอะไรสักอย่างแม้เราเป็น SME แต่เราก็ต้องการเปลี่ยนแปลง อย่างน้อยขอเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้บริโภคของเราได้เริ่มรณรงค์เรื่องการเลือกใช้สินค้า ที่สามารถย่อยสลายได้ ลดการใช้โฟม หรือ พลาสติกได้มาก
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ BEDO เยี่ยมชมศูนย์เรียนรู้เกี่ยวกับการแปรรูปจานใบไม้จากกาบหมาก ซึ่งเป็นวัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ซึ่งช่วยลดกระบวนการต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อภาวะ “โลกร้อน”
อาหารส่วนเกิน คือ อาหารปลอดภัยต่อการรับประทานและมีคุณภาพ แต่ต้องถูกกำจัดและทิ้งเป็นขยะอาหารอย่างน่าเสียดายด้วยเหตุผลต่างๆ เช่น รูปร่างไม่สวย สีไม่สด เกินจำหน่ายขายไม่หมด มีของใหม่กว่าจำเป็นต้องทิ้งของเก่า หรือใกล้หมดอายุก็จำเป็นต้องถูกทิ้งกลายเป็นขยะมูลฝอยในหลุมฝังกลบ
ปัญหาขยะทะเลเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของโลก ส่งผลกระทบต่อทั้งสัตว์น้ำและมนุษย์ เนื่องจากทะเลเปรียบเสมือนบ้านหลังใหญ่ของทุกคน กรมประมงในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อการบริหารจัดการทรัพยากรประมงในน่านน้ำไทย ได้จัดตั้งโครงการ “ขยะคืนฝั่ง ทะเลสวยด้วยมือเรา” ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดติดทะเลจำนวน 23 จังหวัด
วันที่ 18 มกราคม 2567 ณ ห้องประชุมชั้น 5 ศาลากลางจังหวัดกระบี่ นายสมชาย หาญภักดีปฏิมา ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ พร้อมด้วย รศ.ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (มวล.) Mr.Hiroyasu Sato (มร.ฮิโรยาสุ ซาโต้) ประธานกรรมการบริหาร
เกษตรจังหวัดสตูล เปิดเผยว่า ระหว่างวันที่ 26-27 มิถุนายน 2566 เจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต ได้ลงพื้นที่พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่จากสำนักงานเกษตรอำเภอทุ่งหว้า และเจ้าหน้าที่จากสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 สงขลา เพื่อจัดกิจกรรมนำร่องและขยายผลงานส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรแบบกลุ่ม
อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี ลุยขับเคลื่อนหมู่บ้านยั่งยืน ตามโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งหมู่บ้านพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Villages) ยกผลลัพธ์ให้เป็นรูปธรรม ทุกมิติ พร้อมเน้นย้ำการทำงานสมัยใหม่
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)