Search
Close this search box.

Category: บทความ

ชาวทุ่งกุลาฯ ยิ้มได้ เพิ่มรายได้ด้วยนวัตกรรม

  ‘ทุ่งกุลาร้องไห้’ คือทุ่งราบกว้างใหญ่ที่เคยถูกขนานนามถึงความแห้งแล้งและทุรกันดาร ยากแก่การประกอบอาชีพหรือทำการเกษตร แต่ทุกวันนี้ชาวทุ่งกุลาฯ ไม่เพียงไม่ร้องไห้ แต่กำลัง ‘ยิ้มได้’ เพราะนอกจากผืนดินที่เคยแตกระแหงจะกลายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดีระดับโลกแล้ว กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

อ่านต่อ

พลิกชะตา 800 ชีวิตบนเกาะกลางแม่น้ำตากใบ จ.นราธิวาส ปลดล็อค ปัญหาความยากจน สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้คนปลายด้ามขวานไทย ด้วยโครงการวิจัย มนร.

จากการสำรวจของ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (มนร.) ในปี 2564 พบว่ามี ปัญหาความยากจน เกิดขึ้นที่ อำเภอเมือง จ.นราธิวาส

อ่านต่อ

วีกรีน ถอดบทเรียนความสำเร็จ เพิ่มขีดความสามารถผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยด้วย Circular Economy Management System (CEMS) (ตอนที่ 2)

มาถึงอีกหนึ่ง Key Success Person ของโครงการนี้ รศ.ดร.รัตนาวรรณ มั่งคั่ง ผู้อำนวยการ วีกรีน คณะสิ่งแวดล้อม

อ่านต่อ

บพข. จับมือ สมอ. & V-Green KU สร้าง Circular Economy Management System ยกระดับมาตรฐานเศรษฐกิจหมุนเวียนให้ภาคอุตสาหกรรมไทยทั้งระบบ (ตอนที่ 1)

เมื่อกล่าวถึง Circular Economy หรือ เศรษฐกิจหมุนเวียน เชื่อว่าทุกคนรับรู้ตรงกันแล้วว่า แนวคิดนี้ได้รับการนำเสนอเพื่อนำมาปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว เป็นทางเลือกใหม่ในการพัฒนาเศรษฐกิจสู่ความยั่งยืนในอนาคต ด้วยการสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตใช้วัตถุดิบหรือทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่าที่สุด ด้วยการวางแผนให้สิ่งที่ผลิตขึ้นมานั้นสามารถคืนสู่สภาพเดิมหรือพร้อมนำกลับมาใช้ใหม่ได้

อ่านต่อ

มาตรการ CBAM ใครพร้อม…ได้ไปต่อ ชวน ‘ทำความเข้าใจ’ และ ‘เตรียมความพร้อม’ เรื่องการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน EU

‘CBAM’ ย่อมาจาก ‘Carbon Border Adjustment Mechanism’ หรือ ‘มาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน‘ เป็นมาตรการที่สหภาพยุโรป (EU) กำหนดขึ้นเพื่อมุ่งสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแก่ประเทศคู่ค้านอกสหภาพยุโรป ‘ผ่านการใช้มาตรการด้านคาร์บอน‘ โดยจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้นำเข้าสินค้าประเภทที่มีการปล่อยคาร์บอนในกระบวนการผลิตสูง (carbon intensive products)

อ่านต่อ

อีอีซี โมเดล (EEC Model) บทสังเคราะห์ความเคลื่อนไหวของการยกระดับปรับประเทศในคลื่นการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคฐานความรู้และเทคโนโลยี

ช่วงความเคลื่อนไหวของสังคมไทยในรอยต่อทศวรรษ พ.ศ. 2550 ถึง 2560 เป็นช่วงการปรับตัวสำคัญของสังคมไทยอีกครั้ง ที่พยายามเคลื่อนออกจากสภาวะอับจนในการพัฒนาประเทศ! หลังเผชิญวิกฤตทางการเมืองมานับกว่าทศวรรษ ก่อผลรวมเป็นความชะงักงันทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ!

อ่านต่อ

เพิ่มโอกาสธุรกิจด้วยพลังงานสะอาด

ปัจจุบันทั่วโลกเผชิญกับวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ซึ่งการเผาไหม้พลังงานที่ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ (CO₂) จำนวนมาก เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน โดย International Energy

อ่านต่อ

จักรยาน : การคมนาคมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของไต้หวัน

ปัจจุบันทั้งรัฐบาลและเอกชนในไต้หวันส่งเสริมการขับขี่จักรยานในไต้หวันโดยเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันนโยบายสีเขียว (Green Policy)ที่มีจุดประสงค์เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เป็นการยกระดับการใช้ชีวิตของประชาชนในเมืองให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อการอนุรักษ์พลังงานการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

อ่านต่อ

จักรยานและเมืองสีเขียว :อุตสาหกรรมจักรยานโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

การแพร่ระบาดของสถานการณ์โควิด-19 ในปัจจุบันทำให้อุตสาหกรรมบางแห่งต้องปิดตัวลงหรือ ขาดทุนทางรายได้อย่างมหาศาล อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมจักรยานกลับขยายตัวสวนกระแส มีรายงานว่า ยอดขายจักรยานทั่วโลกเพิ่มขึ้นกว่า 200%

อ่านต่อ

แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ของไต้หวันกับอุตสาหกรรมกระจก

เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เป็นแนวคิดดำเนินธุรกิจสมัยใหม่ที่ตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม และเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่ผลิตสินค้าโดยใช้คุณค่า (Value) ของทรัพยากรอย่างเต็มประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด

อ่านต่อ