โมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ ‘ผลักดันไทยเป็นครัวสีเขียวของโลก’
โมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียวเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนผลักดันไทยเป็นครัวสีเขียวของโลกและศูนย์กลางเศรษฐกิจชีวภาพของเอเชีย
โมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียวเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนผลักดันไทยเป็นครัวสีเขียวของโลกและศูนย์กลางเศรษฐกิจชีวภาพของเอเชีย
ที่ผ่านมาโลกขับเคลื่อนภาคธุรกิจด้วยเศรษฐกิจเส้นตรงซึ่งนำทรัพยากรธรรมชาติมาผลิต ใช้ แล้วทิ้ง เศรษฐกิจรูปแบบนี้เป็นการใช้ทรัพยากรอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งยังก่อให้เกิดขยะมหาศาล ซึ่งสร้างผลกระทบเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างมาก โดยเฉพาะขยะพลาสติกซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลก
“กนอ.” ทุ่มเงิน 2.5 พันล้านรุกนิคมอุตสาหกรรม Circular แห่งแรกในไทย เดินหน้าร่วมมือกับ สกพอ. ใช้พื้นที่อีอีซี 4-5
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จับมือ EEC เตรียมตั้งนิคมอุตสาหกรรม Circular แห่งแรกของประเทศ ตั้งคณะทำงานลุยทำผลการศึกษา ดึงการลงทุนเน้นที่กลุ่ม BCG
“ดีพร้อม” รุกดัน “SMES” กว่า 1,800 รายปี 67 มุ่ง “BCG
ซีพีเอฟ เดินหน้าลดสูญเสียอาหาร-ขยะ มุ่งเศรษฐกิจหมุนเวียน
เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) คือ หลักในการดำเนินธุรกิจที่สามารถลดการสูญเสียอาหารและขยะอาหาร (Food Loss & Waste) ล่าสุด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ ผู้นำในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร กำลังเดินหน้าเรื่องนี้อย่างจริงจังตลอดห่วงโซ่
ได้เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2560 มีจำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นทุกปี โดยปัจจุบันมีสมาชิกรวม 282 ครัวเรือน เทศบาลฯ ได้ผลักดันให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เข้าร่วมเป็นสมาชิกธนาคารขยะทุกครัวเรือนและเป็นผู้นำในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนในพื้นที่ให้รับรู้รับทราบข้อดีและประโยชน์ในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกธนาคารขยะ
‘สินค้ามีตำหนิ สินค้าตกเกรด’ เป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญที่อุตสาหกรรมกระเบื้องและเซรามิกต้องเผชิญ เพราะนอกจากไม่สามารถจำหน่ายได้แล้ว การนำกลับไปบดเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการทำผลิตภัณฑ์ใหม่ยังสามารถนำไปใช้ได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้นเมื่อเทียบกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้น
มาถึงอีกหนึ่ง Key Success Person ของโครงการนี้ รศ.ดร.รัตนาวรรณ มั่งคั่ง ผู้อำนวยการ วีกรีน คณะสิ่งแวดล้อม
เมื่อกล่าวถึง Circular Economy หรือ เศรษฐกิจหมุนเวียน เชื่อว่าทุกคนรับรู้ตรงกันแล้วว่า แนวคิดนี้ได้รับการนำเสนอเพื่อนำมาปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว เป็นทางเลือกใหม่ในการพัฒนาเศรษฐกิจสู่ความยั่งยืนในอนาคต ด้วยการสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตใช้วัตถุดิบหรือทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่าที่สุด ด้วยการวางแผนให้สิ่งที่ผลิตขึ้นมานั้นสามารถคืนสู่สภาพเดิมหรือพร้อมนำกลับมาใช้ใหม่ได้
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)