สาธารณสุขนครพนม เสนอกรอบโจทย์วิจัยการศึกษาและพัฒนาต้นแบบระบบเครือข่ายเฝ้าระวังผลกระทบจากฝุ่น PM2.5
วันนี้ (12 มี.ค.67) ห้องประชุมชั้น 2 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยนครพนม นายสุรชัย สูตรสุวรรณ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
วันนี้ (12 มี.ค.67) ห้องประชุมชั้น 2 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยนครพนม นายสุรชัย สูตรสุวรรณ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ นำร่อง ลดเผา ลดควัน แป๋งปุ๋ยบนดอย” ชูนวัตกรรมปุ๋ยหมักไม่พลิกกลับกอง จัดการเศษข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เหลือทิ้งจากการเก็บเกี่ยวบนพื้นที่สูงลดฝุ่น PM2.5
PM2.5 เป็นปัญหาฝุ่นละอองที่คนไทยต้องเผชิญแทบทุกปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว ซึ่งเป็นช่วง ‘อากาศปิด’ สภาวะอากาศแห้งและนิ่ง ทำให้ฝุ่นละอองแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศได้นาน ส่งผลให้ PM2.5 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและมีค่าเกินมาตรฐาน อยู่ในระดับที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่มีจำนวนมาก เป็นวัตถุดิบชั้นดีที่ นักวิจัยนาโนเทค สวทช. นำมาต่อยอดเป็น “ถ่านชีวภาพ (BioCoal)” เชื้อเพลิงชีวภาพ ทางเลือก-ทางรอดสำหรับโรงไฟฟ้าชีวมวลและอุตสาหกรรมที่ใช้ถ่านหิน
สวทช. พร้อมด้วย ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ร่วมแถลงข่าวเปิดตัว “ต้นแบบสวนนันทนาการอากาศสะอาดเพื่อเมืองน่าอยู่” หรือ “MagikFresh” นวัตกรรมที่ช่วยลดปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ด้วยการออกแบบโครงสร้างกึ่งเปิดขนาดย่อมบนพื้นที่ 100 ตารางเมตร พร้อมติดตั้งเครื่องกรองฝุ่น PM2.5
นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ที่ผ่านมาร่วมขับเคลื่อนแก้ปัญหามลพิษฝุ่นละออง ทั้งการรณรงค์และควบคุมการเผาในพื้นที่เกษตร ปฏิบัติการฝนหลวงสร้างความชุ่มชื้นพื้นที่สำหรับป้องกันไฟป่าและบรรเทาปัญหาหมอกควัน ส่งเสริมโครงการส่งเสริมการไถกลบและผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตลอดจนสนับสนุนให้เกษตรกรนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพิ่มทดแทนการเผาทิ้ง
เรียนรู้และรู้จักเจ้าฝุ่นจิ๋วไปด้วยกัน วันเสาร์ที่ 28 ม.ค. 66 นี้ เวลา 15.00 – 19.00
นอกจากปัญหาฝุ่นขนาดเล็ก PM2.5 แล้ว ยังมีเชื้อโรคในอากาศอีกหลายชนิดที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจและโรคเรื้อรัง เช่น โควิด-19 ไข้หวัดใหญ่ วัณโรค ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์
วันที่ 11 มกราคม 2566 นายนิธิพัฒน์ ขอดทอง นายอำเภอคง เป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรมสาธิตการบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อทดแทนการเผา โครงการส่งเสริมการหยุดเผาในพื้นที่การเกษตร ปี
ปัจจุบันโลกขับเคลื่อนด้วยข้อมูลปริมาณมหาศาล องค์กรชั้นนำทั่วโลกต่างใช้เทคโนโลยีคำนวณในการวิเคราะห์ข้อมูลและจำลองแบบเพื่อการวิจัยและพัฒนางานที่มีความท้าทายสูง เพื่อทลายขีดจำกัดของกรอบงานเดิม ในบางกรณีสามารถลดเวลาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก 6 เดือนเหลือเพียง 2 สัปดาห์เท่านั้น อย่างไรก็ตามที่ผ่านมามีองค์กรเพียงส่วนน้อยที่สามารถวิจัยโดยใช้แบบจำลองที่แม่นยำสมจริง
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)